เนื้อหาภายในเล่มที่ใช้สอบ กทม ภาค ก
กทม ภาค ก ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
– ความรู้ทั่วไป การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา การวิเคราะห์เชิงนามธรรม (วิชาภาษาไทย)
– แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา การวิเคราะห์เชิงนามธรรม พร้อมเฉลย
– ความรู้ทั่วไป การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (วิชาคณิตศาสตร์)
– แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (วิชาคณิตศาสตร์) พร้อมเฉลย และคำอธิบายหลักการคิด
– ความรู้ทั่วไป วิชาภาษาอังกฤษ
– แนวข้อสอบ วิชาภาษาอังกฤษ พร้อมเฉลย และคำอธิบาย
– สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
– แนวข้อสอบ พรบ.บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
– สรุปสาระสำคัญ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2562
– แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2562
– สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
– เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ
ทำไมต้องสอบ ภาค ก กทม
การสอบภาค ก หรือความรู้ความสามารถทั่วไปนั้นถือว่าเป็นด่านแรกสำหรับคนที่ต้องการที่จะบรรจุเข้าทำงานราชการ เพราะอนาคตของการสอบบรรจุข้าราชการของ กทม นั้น อาจจะไม่ได้เปิดสอบสำหรับบุคคลที่ไปที่ไม่ได้ผ่าน ภาค ก มาก่อนแล้ว ดังนั้นจะเป็นเรื่องที่ยากสำหรับบุคคลทั่วไปที่ยังไม่ผ่าน ภาค ก เพราะเป็นไปได้ว่า กทม เองอาจจะเปิดสอบภาค ความรู้เฉพาะตำแหน่ง ภาค ข เท่านั้น เพราะปกติ การสอบข้าราชการกรุงเทพมหานคร จะสอบสนามใหญ่ เปิดรับบุคคลทั้งที่ผ่าน ภาค ก แล้ว และไม่ผ่านภาค ก เพื่อที่จะสอบทั้งหลักสูตรภาค ก และ ภาค ข พร้อมกัน เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคน ๆ ได้มีโอกาสเข้าได้หมด แต่ในอานาคตอาจจะไม่ใช่ เพราะมีการเปิดสอบภาค ก รอบนี้แล้ว ต่อไปก็อาจจะสอบเพียงภาค ก อย่างเดียว
สอบภาค ก กทม กับ ภาค ก ของ กพ และท้องถิ่น ต่างกันอย่างไร
จากหลักสูตรที่เปิดสอบแล้ว ที่ไม่ต่างกันเลยของทั้ง 3 หน่วยงานคือ 3 วิชาหลัก ได้ ไทย คณิต อังกฤษ ส่วนวิชาย่อยได้แก่กฎหมาย กฏหมายของ ภาค ก ของ กทม และ ภาค ก ของ กพ นั้น เป็นหลักสูตร เดียวกัน ที่จะแตกต่างกันนั้นก็จะเป็นความยากง่ายของข้อสอบ ส่วน ภาค ก ของท้องถิ่น นั้น เป็นหลักสูตรที่มีการสอบกฎหมายเยอะที่สุด ดูหลักสูตรการสอบได้ที่หัวข้อด้านล่าง
หลักสูตรสอบ ภาค ก ของ ท้องถิ่น
ในส่วนของการสอบ ภาค ก ของท้องถิ่นนั้น ยังไม่มีการเปิดสอบ ภาค ก ของตัวเอง แต่จะเป็นการเปิดสอบสนามใหญ่ แต่ละรอบจะรับเยอะมาก และคนก็สมัครเยอะเนื่องจาก เปิกแต่ละครั้งนั้น เป็นการสอบรับบุคคลทั่วไปไม่จำเป็นต้องสอบผ่านภาค ก ของ กพ ก็สามารถสมัครสอบได้ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ทุก ๆ เข้าสอบได้ แต่ในอนาคตนั้นไม่แน่ ท้องถิ่นเองอาจจะเปิดสอบ ภาค ก ของท้องถิ่นเองก็เป็นไปได้
จากอธิบายมานั้น หลายคนคงเป็นความสำคัญของการสอบภาค ก แล้ว แต่ทั้งนี้การสอบ ภาค ก ของ กทม จะสามารถนำไปสอบต่อ ภาค ข ของ กทม เพื่อสอบบรรจุข้าราชการกรุงเทพมหานครได้เท่านั้น ส่วนภาค ก ของ กพ นั้น สามารถนำไปสอบ ต่อ ภาค ข ได้ทุกหน่วยงานที่เปิดสอบบรรจุได้เลย
การสมัครสอบ ภาค ก ของ กทม
สำนักงาน ก.ก. จะรับสมัครสอบ จำนวน 2 ระดับวุฒิการศึกษา ดังนี้
1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) อนุปริญญา
2. ระดับปริญญาตรี
สามารถสมัครได้ทางเว็บไซต์ http://ksb.bangkok.go.th ตั้งแต่วันที่ 5 – 20 ตุลาคม 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง (ไม่เว้นวันหยุดราชการ) หัวข้อ “การสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ครั้งที่ 1/2565”
ไฟล์แนบรายละเอียดเพิ่มเติม การสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ครั้งที่ 1/2565
guest –
ภาค ก กทม