อัพเดตข่าว สอบท้องถิ่น สอบวันไหน เปิดตำแหน่งอะไรบ้าง

อัพเดตเปิดสอบท้องถิ่นอย่างเป็นทางการ กรมส่งการปกครองส่วนท้องถิ่น ประกาศรับสมัครสอบแข่งขันบรรจุข้าราชการส่วนท้องถิ่น ปี 2568 

สมัครได้ที่เว็บไซต์ https://dla-local2568.thaijobjob.com/ ตั้งแต่วันที่ 7 – 28 มีนาคม 2568 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

 

อัตราว่างที่เปิดรับสอบท้องถิ่น ปี 2568

ตำแหน่ง
ภาคกลางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคใต้รวม
เขต 1เขต 2เขต 3เขต 1เขต 2เขต 1เขต 2เขต 3เขต 1เขต 2
ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานธุรการ2615113164511151107
เจ้าพนักงานทะเบียน31131312
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี86974022676234204216486
เจ้าพนักงานการคลัง57312124227
เจ้าพนักงานพัสดุ76102402281212433546459
เจ้าพนักงานเก็บรายได้102924025571527347627495
เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์311139
เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว310116
เจ้าพนักงานการเกษตร111212210
เจ้าพนักงานสัตวบาล11
เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ31121111314
เจ้าพนังงานสาธารณสุข3350242526188264221273
เจ้าพนักงานสุขาภิบาล5340223322
เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข112226115
สัตวแพทย์451311116
เจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์291719
นายช่างโยธา143181721241627956611791161,173
นายช่างเขียนแบบ92049126863811123
นายช่างสำรวจ91688306139219129
นายช่างผังเมือง3311311
นายช่างเครื่องกล1712513130
นายช่างไฟฟ้า1014113545625487
นายช่างศิลป์11
เจ้าพนักงานประปา431505196361695
เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน52411
เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน4102211112
เจ้าพนักงานเทศกิจ631111
เจ้าพนักงานป้องกันและบรเทาสาธารณภัย2524261227512335160
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ
นักจัดการงานทั่วไป1221116
นักทรัพยากรบุคคล541342322
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน784742131248
นักจัดการงานทะเบียนและบัตร25209
นิติกร31482518279811263206
นักวิการคอมพิวเตอร์892247235345
นักชาการเงินและบัญชี31401618166201274170
นักวิชาการคลัง9146741748
นักวิชาการจัดเก็บรายได้2241151217914317168
นักวิชาการพัสดุ27341222241314183517216
นักวิชาการตรวจสอบภายใน110102428616522572611752779
นักวิชาการพาณิชย์1124
นักประชาสัมพันธ์31122211
นักพัฒนาการท่องเที่ยว11
นักวิชาการเกษตร3317212120
นักวิทยาศาสตร์22
นักวิชาการสวนสาธารณะ241119
นักวิชาการสาธารณสุข30322540298714584247
พยาบาลวิชาชีพ741112126
นักกายภาพบำบัด11
นักอาชีวบำบัด11
นักวิชาการสุขาภิบาล112283241311166
นักชาการสิ่งแวดล้อม11136
นายสัตวแพทย์2210117
นักฉุกเฉินการแพทย์272415
นักสาธารณสุข11
นักโภชนาการ11
วิศกรโยธา465244536223271028144534
สถาปนิก7106287545
นักผังเมือง112
วิศกรเครื่องกล2211219
วิศวกรไฟฟ้า1135
วิศวกรสุขาภิบาล121116
นักจัดการงานช่าง5132455556454
นักพัฒนาชุม1135
นักสังคมสงเคราะห์6611616633
นักวิชาการศึกษา198811132332298
บรรณารักษ์12115
นักวิชาการวัฒนธรรม4318
นักสันทนาการ8115176111353
นักพัฒนาการกีฬา1124
นักจัดการงานเทศกิจ314
ภัณฑารักษ์112
นักป้องกันและบรรเทาสาธารสารณภัย41117
ครูผู้ช่วย
กลุ่มวิชาวัดผลและประเมินผล112
กลุ่มวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว11
กลุ่มวิชาภาษาไทย191911417124196
กลุุ่มภาษาอังกฤษ13116415115166
กลุมวิชาคณิตศาสตร์1728831912352115
กลุ่มวิชาคหกรรม11322514
กลุ่มวิชาวิทยาศาสาตร์12143112
กลุ่มวิชาเคมี11248
กลุ่มวิชาชีววิทยา1112128
กลุ่มวิชาฟิสิกส์14241416
กลุ่มวิชาสังคมศึกษา2551527
กลุ่มวิชาพลศึกษา213
กลุ่มวิชาบรรณารักษ์213
กลุ่มวิชาศิลปะ22344217
กลุ่มวิชาดนตรีไทย11
กลุ่มวิชานาฎศิลป์311111926
กลุ่มวิชาดนตรี1243212
กลุ่มวิชาการเกษตร33
กลุ่มวิชาดนตรีไทย5139
กลุ่มวิชาดนตรีสากล261514
กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์2114
กลุ่มวิชาปฐมวัย / การศึกษาปฐมวัย /

อนุบาลศึกษา (ปฎิบัติหน้าที่ ณ โรงเรียน)

32238232133102414161
กลุ่มวิชาประถมศึกษา489131935
กลุมวิชาภาษาจีน2711311218
กลุ่มวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา11
กลุ่มวิชาปฐมวัย (ปฎิบัติการสอนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)1051038110510472989212892980
กลุ่มวิชาการตลาด11
กลุ่มวิชาการโรงแรม11
กลุ่มวิชาอุตสาหรรมศิลป์112
กลุ่มวิชาทัศนศิลป์11
กลุ่มวิชาแนะแนว412512
กลุ่มวิชาการบัญชี11
กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา22
กลุ่มวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี2417
รวม1,2091,4006697121,1384384645721,3975138,512

 

ท้องถิ่น ปี 68 สอบอะไรบ้าง

การสอบท้องถิ่น มีทั้งหมด ๓ ภาค ได้แก่ สอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก), ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (ภาค ข) ผู้ที่สอบผ่าน ภาค และ ข ตามเกณฑ์ในประกาศรับสมัครแล้ว มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค)

 

📚 พร้อมสอบท้องถิ่นปี 68 หรือยัง? 📚

🔥 โอกาสมาถึงแล้ว! ใครที่อยากได้งานมั่นคงในหน่วยงานรัฐ ห้ามพลาด

สรุปเนื้อหาเข้มข้น ครอบคลุมทุกหมวดสอบ
แนวข้อสอบอัปเดตล่าสุด ตามประกาศสอบปี 68
ตัวอย่างแนวข้อสอบ + ตรงจุด ช่วยให้สอบผ่านง่ายขึ้น

📌 พิเศษ! สั่งจองก่อนได้คิวส่งก่อน ได้สิทธิ์อ่านก่อน

📲 ทักแชทเลย 👉 [Line ID: @sheetstore (มี @ ข้างหน้า) หรือคลิก 👉 https://lin.ee/sheetstore]

 

เนื้อหาสอบภาค ก ท้องถิ่น ปี 68 มีอะไรบ้าง

ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย

วิชาความสามารถในการศึกษาวิเคราะห์และสรุปเหตุผล

(คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน)

 

เป็นการทดสอบความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล ในเรื่องดังต่อไปนี้

๑.      ความสามารถในการสรุปความ หรือจับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว

๒.     ความสามารถในการวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลหางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม

๓.     ความสามารถในการหาแนวโน้มหรือความเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสนมติฐาน

๔.     ความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปเหตุผลอย่างอื่น เช่น สรุปเหตุผลเกี่ยวกับตัวเลขและข้อมูลต่าง ๆ การคิดสรุปหาเหตุผล และอุปมาอุปไมย เป็นต้น

๕.     ความสามารถในการคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความ หรือรูปภาพ

วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ

(คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน)

 

เป็นการทดสอบความพื้นฐานที่เกี่ยวกับกฎหมายในการปฏิบัติราชการ ในเรื่องดังต่อไปนี้

๑.      รัฐธรรมมูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑) พศ. ๒๕๖๔

๒.     พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.     พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และที่แก้ไขพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พศ. ๒๕๖๒

๔.     พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๕.     พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบันที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.      พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัพยา พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) ฑ.ศ. ๒๕๖๒

๗.     พระราชบัญญัติกำหนดแผนและชั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พศ. ๒๕๔๙

๘.     พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนห้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒

๙.      พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๐.   พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกคึรอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑.   ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๒. เจตคติและคุณธรรม จริยธรรมสำหรับข้าราชการหรือพนักงานส่วนข้องถิ่น

๑๓.  ประวัติศาสตร์ของชาติไทย และหน้าที่พลเมือง

วิชาภาษาไทย

(คะแนนเดิม ๒๐ คะแนน)

เป็นการทดสอบความพื้นฐานที่เกี่ยวกับกฎหมายในการปฏิบัติราชการ ในเรื่องดังต่อไปนี้

เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา โดยการอ่านจับใจความ การสรุปความ การ ตีความ การขยายความจากข้อความสั้น ๆ หรือบทความ และให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆจากคำหรือกลุ่มคำ ประโยคหรือข้อความสั้นๆ การเรียงข้อความ การสะกดคำ การแต่งประโยค และคำศัพท์

วิชาภาษาอังกฤษ

(คะแนนเดิม ๒๐ คะแนน)

เป็นการทดสอบความพื้นฐานที่เกี่ยวกับกฎหมายในการปฏิบัติราชการ ในเรื่องดังต่อไปนี้

เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถภาษาอังกฤษชั้นพื้นฐาน ทางการอ่าน การสรุปความการตีความ การใช้ศัพท์ สำนวน โครงสร้างประโยคที่เหมาะสมทั้งในเชิงความหมายและบริบท และความเข้าใจสาระสำคัญของข้อความในระดับเบื้องต้น

 

สอบภาค ข ท้องถิ่น ปี 68 แต่ละตำแหน่งสอบอะไรบ้าง

ตำแหน่งสอบท้องถิ่น 68 ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน

ที่ตำแหน่งที่สมัครสอบขอบเขตเนื้อหาที่สมัครสอบ
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒

๒.     พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๓.     ระเบียนสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พศ. ๒๕๖๔

๔.     ระเบียบสำนักนายกรัฐมนครีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๑

๕.     ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (การบันทึกข้อมูล)

๖.      ความรู้เกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ* ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานทะเบียนปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระรารบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔

๔.     กฎกระทรวงกำหนดการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๔๗

๕.     กฎกระทรวงกำหนดให้คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

๖.      กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียบราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๐

๗.     ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร์ เช่น การจัดทำทะเบียนบ้าน การจัดทำทะเบียนคนเกิด-ตาย การรับแจ้งย้ายที่อยู่อาศัย การแก้ไขรายการในทะเบียนบ้าน เป็นต้น

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน๑.      ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินการฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๒.     พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๓.     พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.     ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑  และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

๖.      ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานการคลังปฏิบัติงาน๑.      ระเบียบกระทรงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พศ. ๒๕๖๖

๒.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๓.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชน ตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๕.     ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติการบันทึกบัญชีการจัดทำทะเบียน และรายงานการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๗.     หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ มท๐๘๐๘.๔/๑๔๕๙ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๗ เรื่องซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มติมถึง (ฉบับที่ ๓) พศ. ๒๕๖๒

๓.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๔.     ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕.

๕.     กฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔

๓.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๓.     ความรู้เกี่ยวกับหลักการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการแปลและการเรียบเรียงข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

๕.     ความรู้ความสามารถในการเขียนแผนงานโครงการประชาสัมพันธ์

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙

๓.     พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     ความรู้เกี่ยวกับนโยบายยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวในระดับต่าง ๆ

๕.     ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน๑.      ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเกษตร เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืชหลักพฤกษศาสตร์เบื้องต้น การจำแนกพืช การขยายพันธุ์พืช เช่น การตอน การติดตา การทาบกิ่ง ปักชำ ฯลฯ

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการดูแลบำรุงรักษา เช่น การให้น้ำ การให้ปุ๋ย การจัดการ ดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การตัดแต่ง ฯลฯ

๔.     ความรู้ด้านเทคโนโลยีภูมิทัศน์ การส่งเสริมการเกษตร เช่น ส่งเสริมด้านการเกษตรให้กับเกษตรกร การทำเกษตรอินทรีย์

๕.     หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๐เจ้าพนักงานสัตวบาลปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. ๒๕๖๕

๒.     พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘

๔.     พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๕.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

๖.      ความรู้เกียวกับการบริหารจัดการฟาร์มปตุสัตว์และการเลี้ยงปตุสัตว์

๗.     ความรู้ด้านการผลิตและขยายพันธุ์สัตว์หรือพันธุ์พืช อาหารสัตว์ หรือ ด้านการพัฒนาฟาร์มเลี้ยงสัตว์และพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์

๘.     ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสุนัข

๙.      ความรู้เกี่ยวกับโรค และการสุขาภิบาลสัตว์

๑๐.   ความรู้เกี่ยวกับการจัดการคอกและโรงเรือน

๑๑.   ความรู้เกี่ยวกับโภชนศาสตร์อาหารและการให้อาหารสัตว์

๑๒. ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

 

๑๑เจ้าพนักงานสวนสาธารณะปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

๒.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดสวน การจัดภูมิทัศน์

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบสวนสาธารณะเบื้องต้น และการดูแลบำรุงรักษา

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการดูแลบำรุงรักษาสวนสาธารณะ และบำรุงรักษาภูมิทัศน์

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการให้น้ำและการใส่ปุ๋ยพรรณไม้ในสวน

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและกำจัดศัตรูพรรณไม้ในสวนสาธารณะ .

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๒เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

๔.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๕.     พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

๖.      ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานสาธารณสุขเบื้องต้น ได้แก่

–             การควบคุมและป้องกันโรค

–             การส่งเสริมสุขภาพอนามัย การวางแผนครอบครัว งานอนามัยแม่และเด็ก งานอนามัยโรงเรียน งานสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม งานโภชนาการงานทางด้านระบาดวิทยา

๗.     ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิตามหลักประกันสุขภาพประกันสังคมกองทุนเงินทดแทน

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัคร สอบ

๑๓เจ้าพนักงานสุขาภิบาลปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๓.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๑

๔.     พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๕.     ความรู้เกี่ยวกับงานสุขาภิบาล

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการของเสีย

๗.     ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการน้ำเสีย

๘.     ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการปฏิกูลของแข็ง

๙.      ความรู้ที่เกี่ยกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของคำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๔เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน๑.      ความรู้เกี่ยวกับการทันตกรรม ทันตสาธารณสุข

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการเตรียม การดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคในช่องปาก

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาทางทันตกรรมพื้นฐาน

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบงานทันตสาธารณสุข

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๕สัตวแพทย์ปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์และจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๙

๒.     พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. ๒๕๓๕

๔.     พระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ.๒๕๕๗ฃ

๕.     ความรู้เกี่ยวกับโรคสัตว์ และโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๖เจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑

๒.     พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาฉุกเฉินการแพทย์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๖๔

๓.     พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๕๙

๔.     พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๕

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการฉุกเฉินในการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานนอกสถานพยาบาล

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องพื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติสำหรับการปฐมพยาบาล

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและบริหารจัดการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๗นายช่างโยธาปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการตรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการสำรวจเพื่อการก่อสร้าง

๕.     ความรู้เกี่ยวกับเครื่องจักรก่อสร้าง

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบวัสดุ และคอนกรีตเทคโนโลยี

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๘นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน๑.      ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและเขียนแบบสถาปัตยกรรม

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เขียนแบบโปรแกรม AutoCAD และโปรแกรมที่ใช้เขียนแบบอื่นๆ

๓.     ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและระบบ สัญลักษณ์วัสดุก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและด้านวิศวกรรม

๔.     ความรู้เกี่ยวกับงานภูมิทัศน์

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๙นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน๑.      ความรู้พื้นฐานด้านงานสำรวจและการทำแผนที่

๒.     ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ AutoCAD และโปรแกรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณและเขียนแผนที่ การคำนวณพื้นที่จากค่าพิกัด

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการรังวัดหมุดหลักฐานแผนที่โดยดาวเทียมเบื้องต้น (GPS)

๕.     ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ (GIS)

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๐นายช่างผังเมืองปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดทำผังเมือง

๓.     ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและความรู้ด้านผังเมือง

๔.     ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายผังเมือง

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ และการพัฒนาเมือง

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการวางแผนและผังเมือง

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๑นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน๑.      ความรู้เกี่ยวกับการซ่อม การบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ

๒.     ความรู้เกี่ยวกับนิวเมติกและไฮดรอลิกส์

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการทำงานของเครื่องสูบน้ำ

๕.     ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าเบื้องต้น

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๒นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน๑.      ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้า

๒.     ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบแสงสว่าง และเครื่องปรับอากาศ

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง ซ่อมแซม บำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้เกี่ยวกับไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และคำนวณหาค่าวงจรไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๓เจ้าพนักงานประปาปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. ๒๕๒๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่๓) พ.ศ. ๒๕๔๖

๒.     พระราชบัญญัติการประปาส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง ซ่อมแชม บำรุงรักษาระบบประปา รวมทั้งการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา

๔.     ความรู้เกี่ยวกับเครื่องสูบน้ำและการใช้งาน

๕.     ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๔นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน๑.      ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานศิลป์ที่เกี่ยวกับการร่างและการออกแบบภาพ ตัวอักษร บอร์ด ป้ายประกาศ บอร์ด สื่อสิ่งพิมพ์ ป้ายโฆษณา เวที ซุ้มตกแต่งอาคารสถานที่ การจัดงานศิลป์ และงานอื่น ๆ ทางด้านช่างศิลป์

๒.     ความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบและองค์ประกอบศิลป์ การออกแบบการตกแต่งและการจัดนิทรรศการ

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบกราฟฟิก

๔.     การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๕เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชนปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนา พื้นที่ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔.     ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง

๕.     ความรู้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

๖.      ความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน

–             แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน เช่น หลักการพัฒนาชุมชน หลักการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ข้อมูลชุมชน วิธีการและกระบวนการพัฒนาชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้นำชุมชน การจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ การวางแผน โครงการและคิดตามประเมินผลเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ เป็นต้น

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๖เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖

๓.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชน

๔.     ความรู้เกี่ยวกับหลักการบริหารจัดการศูนย์เยาวชน

๕.     ความรู้เกี่ยวกับด้านพลศึกษา ด้านศิลป์ ด้านห้องสมุด ด้านนาฏศิลป์ด้านคหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเยาวชนนอกสถานศึกษา

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๗เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

๓.     พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๕.     พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๖.      พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐

๗.     พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดระเบียบของตลาดสด หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๘เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน๑.      พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐

๒.     พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที ๔ ) พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับ ความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและปฏิบัติการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น สำรวจตรวจตราเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัยการป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่น ๆ การพื้นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย เป็นต้น

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

 

ตำแหน่งสอบท้องถิ่น 68 ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

ที่ตำแหน่งที่สมัครสอบขอบเขตเนื้อหาที่สอบ
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

๒.     พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๓.     พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒

๔.     ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการประชุมสภาห้องถิ่น (ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารงบประมาณการบริหารแผนปฏิบัติราชการ การบริหารอาคารสถานที่ การจัดระบบงาน

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดงานรัฐพิธีหรืองานราชพิธี

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนห้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒

๔.     ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการบริหารงานบุคคล (ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น) (ก.ถ.) เรื่อง กำหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนห้องถิ่น และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๖๗

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารผลการปฏิบัติงาน หรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นต้น

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลบุคคล จัดทำระบบสารสนเทศ ทะเบียนประวัติ

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งาน การกำหนดตำแหน่ง และการวางแผนอัตรากำลัง

๙.      ความรู้เกี่ยวกับระบบบำเหน็จบำนาญ การเสนอขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์และสวัสดิการอื่น ๆ

๑๐.   ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติกำหนดแผนและชั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

๒.     พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาในระดับพื้นที่ (ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔.     ความรู้เกี่ยวกับวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ระเบียบ กระทรวงมหาคไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓)

๕.     ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๖.      ความรู้เกียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์นโยบายของรัฐบาลกระทรวง กรม และสถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำกระบวนงานของการพัฒนาคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA)

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักจัดการงานทะเบียนและบัตรปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้ไนทิ่มติมถึง (ฉบับที่ ๓) พศ.๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๕๕๔

๔.     กฎกระทรวงกำหนดการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๔๗

๕.     กฎกระทรวงกำหนดให้คนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พศ. ๒๕๖๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

๖.      กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนราษฎร พ.ศ.๒๕๕๐

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการปฏิบัติงานให้บริการประชาชน

๘.     ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียนและงานบัตรประจาตัวประชาชน เช่น การจัดทะเบียนราษฎร ทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย การรับแจ้งย้ายที่อยู่อาศัย เป็นต้น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นิติกรปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.     พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

๕.     พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

๖.      ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

๗.     ประมวลกฎหมายอาญา

๘.     ความรู้เกี่ยวกับดำเนินการทางวินัย และทางคดีต่าง ๆ เช่น การสอบสวนข้อเท็จจริง การบันทึกการสอบสวน การติดตามหลักฐาน การสืบพยาน เป็นต้น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ พ.ศ. ๒๕๖๔

๔.     ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าและอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล

๕.     ความรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ การจัดการระบบฐานข้อมูลและการบูรณาการการใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์ ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสังสำเร็จรูป

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

๗.     ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบงานประยุกต์

๘.     ความรู้เกี่ยวกับระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

๒.     พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

๓.     พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๕.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๖.      ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

๗.     หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ มท๐๘๐๘.๔/๑๔๕๙ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๗ เรื่องซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และจัดทำรายงานการเงินประจำวันประจำเดือน รายงานการเงิน และหมายเหตุประกอบรายงานการเงิน

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักวิชาการคลังปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

๒.     พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

๓.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๕.     ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลหรือประเด็นปัญหาด้านการเงิน การคลังการพัสดุ และการงบประมาณ

๗.     ความรู้ที่เกี่วกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

นักวิชาการจัดเก็บรายได้ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

๓.     พระราชบัญญัติจัดสรรรายได้ประเภทภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้แก่ราชการส่วนห้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๓๔

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๕.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓

๖.      ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของคำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๐นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ 6

๒.     พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๓.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน พ.ศ. ๒๕๔๓

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบและดูแลการจัดซื้อจัดจ้างแบบต่าง ๆ

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๑นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒

๓.     พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๖

๕.     หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์การปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๖

๖.      ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและทรัพย์สิน รวมทั้งการบริหารด้านอื่น ๆ ของส่วนราชการ

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๒นักวิชาการพานิชย์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. ๒๔๙๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙

๒.     พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. ๒๕๔๒

๓.     พระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕

๔.     พระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ.๒๔๘๙

๕.     พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

๖.      พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๓

๗.     ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒

๘.     ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ

๙.      ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจการค้า การลงทุน การตลาด ทั้งภายในและระหว่างประเทศ

๑๐.   ความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเศรษฐกิจ

๑๑.   ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๓นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พศ. ๒๕๖๐

๓.     หลักและทฤษฎีการสื่อสาร

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ ชุมชนสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ การเขียนบรรยายภาพข่าว การจัดนิทรรศการ

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประเด็น การแปล และการเรียบเรียงข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

๗.     ความรู้เกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย การผลิตวิดิทัศน์ การออกแบบเว็บ กราฟฟิกและแอนิเมชั่น การออกแบบนิเทศศิลป์

๘.     ความรู้ความสามารถในการเขียนแผนงานโครงการประชาสัมพันธ์

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๔นักพัฒนาการท่องเที่ยวและปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙

๓.     ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวในระดับต่าง ๆ

๔.     ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์การพัฒนาและการส่งเสริมการท่องเที่ยว

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนงานโครงการ การสำรวจ การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาด การบริการข้อมูล ด้านการท่องเที่ยวในรูปแบบต่าง ๆ

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม ” ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๕นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ๑.      ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับงานวิชาการเกษตร

๒.     ความรู้ในการตรวจสอบควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร

๓.     ความรู้ในการทดลองและวิเคราะห์วิจัยเพื่อปรับปรุงวิธีการผลิต ผลผลิตและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร

๔.     ความรู้เกี่ยวกับแมลงคัตรูพืชและการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ด้านพฤกษศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ การปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์ ฃ

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ การปรับปรุงบำรุงดินการแก้ไขดินที่มีปัญหา การวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินและการวางแผนการใช้ที่ดิน

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๖นักวิชาการสวนสาธารณะปฏิบัติการ๑.      ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ด้านพฤกษศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพการปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบจัดตกแต่งสวนสาธารณะและสวนหย่อม

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดสวนต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับ

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัคร

๑๗นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ๑.      ความรู้เกี่ยวกับเคมีทั่วไป ด้านอินทรีย์เคมี เคมีวิเคราะห์ อนินทรีย์เคมีและชีวเคมี

๒.     ความรู้เกี่ยวกับชีววิทยาทั่วไป ด้านชีววิทยา จุลชีววิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ พันธุศาสตร์ และชีวโมเลกุล

๓.     มาตรฐานห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง

๔.     ความรู้เกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๑๘นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

๔.     พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๕.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการพื้นฟูสุขภาพ การบริการอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว

๗.     ความรู้ด้านการบริหารงานสาธารณสุขเบื้องต้น การจัดทำแผนงานโครงการ ด้านสาธารณสุข การจัดทำฐานข้อมูลสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของประชาชน

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สนัครสอบ

๑๙พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙

๒.     พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐  และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.     พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐

๔.     ความรู้ในการปฏิบัติการพยาบาลขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานวิชาชีพ

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ปัญหา วินิจฉัย ปัญหา ภาวะเสี่ยง เพื่อให้การช่วยเหลือทางนิติวิทยาศาสตร์ การพยาบาลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทันสถานการณ์และทันเวลา

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา พื้นฟูสุขภาพประชาชน หรือการบริการอื่น ๆ ทางด้านสุขภาพ

๗.     จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๐นักกายภาพบำบัดปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     ความรู้เกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์

๓.     ความรู้เกี่ยวกับกายภาพบำบัด

๔.     สรีระและจิตวิทยาของการออกกำลังกาย

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๑นักอาชีวบำบัดปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔

๒.     ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานอาชีวบำบัดและการพื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการให้บริการอาชีวบำบัด และฝึกอาชีพแก่ผู้ป่วย

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการสอนสายอาชีพหรือการฝึกอาชีพ

๕.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๒นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๓.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

๔.     พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๕.     ความรู้ด้านสุขาภิบาล เช่น การสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยของอาหารการสุขาภิบาลโรงงาน การสุขาภิบาลทั่วไป การอนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยชุมชน การบำบัดน้ำเสีย การกำจัดขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย สิ่งปฏิกูล การควบคุมมลพิษทางน้ำ ทางอากาศ ทางเสียง การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค

๖.      ความรู้เกี่ยวกับงานเทคโนโลยีด้านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบบำบัดและควบคุมน้ำเสีย ระบบบำบัดและกำจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น

๗.     ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางด้านสุขาภิบาล การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๓นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

๔.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการแก้ไข ฟื้นฟู รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม

๖.      ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น มาตรฐานคุณภาพน้ำมาตรฐานคุณภาพอากาศ เป็นต้น

๗.     ความรู้ในกระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริมการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม และปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น ภาวะโลกร้อน

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๔นักโภชนาการปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ

๔.     ความรู้ด้านการบริหารการจัดการโภชนา

๕.     ความรู้ด้านโภชนบำบัดทางการแพทย์และการให้คำปรึกษา

๖.      ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร

๗.     ความรู้ด้านการวิจัยและโภชนาการ

๘.     ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในอาหาร

๙.      ความรู้ที่เกียวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๕นักสัตวแพทย์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. ๒๕๓๕

๒.     พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๙

๔.     พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พศ. ๒๕๕๘

๕.     พระราชบัญญัติสถานพยาบาลสัตว์ พ.ศ. ๒๕๓๓ และที่แก้ไขเพิ่มติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๖.      พระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗

๗.     ความรู้ด้านสุขภาพสัตว์ เช่น ภูมิคุ้มกันโรคสัตว์ โรคสัตว์และโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน การชันสูตรโรคสัตว์ การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เป็นต้น

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคระบาดให้แก่สัตว์ การควบคุมเคลื่อนย้ายและกักกันสัตว์ ซากสัตว์ ผลิตภัณฑ์สัตว์

๙.      ความรู้ด้านสัตวแพทย์สาธารณสุข เช่น โรงฆ่าสัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อม ด้านการปศุสัตว์ เป็นต้น

๑๐.   ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์สัตว์ด้วยวิธีการผสนเทียม และด้านการผลิตสัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านการผสมเทียม การปรับปรุงพันธุ์ การทดสอบพ่อพันธุ์ ด้านความสมบูรณ์พันธุ์ ด้านการผลิตและควบคุมคุณภาพการผลิตน้ำเชื้อสัตว์ พ่อพันธุ์และตัวอ่อนตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์

๑๑.   ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๖นักฉุกเฉินการแพทย์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑

๒.     พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาฉุกเฉินการแพทย์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ พศ. ๒๕๖๔

๓.     พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙

๔.     พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๕

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการฉุกเฉินในการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานนอกสถานพยาบาล

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องพื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติสำหรับการปฐมพยาบาล

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและบริหารจัดการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๗นักสาธารณสุขปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไนพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓

๔.     พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๕

๕.     พระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๖

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังโรค การป้องกันโรค การควบคุมโรค และภัยสุขภาพ การสอบสวนโรค ติดตามผู้สัมผัส การตรวจประเมินอาการเจ็บป่วย การบำบัดโรคเบื้องต้น และการพื้นฟูสภาพ การอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม

๗.     ความรู้ด้านการบริหารงานสาธารณสุขเบื้องตัน การจัดทำแผนงานโครงการ ด้านสาธารณสุข การจัดทำฐานข้อมูลสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของประชาชน

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๘วิศวกรโยธาปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

๒.     ความรู้ด้านวิศวกรรมโยธา เช่น ความรู้ทางด้านคุณภาพวัสดุงานทางปฐพีกลศาสตร์

๓.     ความรู้ด้านวิศวกรรมการบริหารจัดการงานก่อสร้าง

๔.     ความรู้ด้านวิศวกรรมสำรวจและออกแบบ งานทางและโครงสร้าง

๕.     ความรู้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง และการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในงานวิศวกรรม

๗.     จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๒๙สถาปนิกปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

๒.     พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ และเขียนแบบด้านสถาปัตยกรรม

๕.     ความรู้ในการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และแก้ไขแบบแปลนต่าง ๆ ในการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร เพื่อให้ได้แบบแปลนที่ถูกต้อง และตรงตามมาตรฐานและพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

๖.      ความรู้ในการคำนวณโครงสร้างทางสถาบัตยกรรม ประมาณราคาและจัดทำราคาเกี่ยวกับการก่อสร้าง การตกแต่งอาคารสถานที่

๗.     ความรู้เบื้องต้นในการออกแบบวางผังสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่กลุ่มอาคาร ชุมชนและเมือง

๘.     จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๐ นักผังเมืองปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.๒๕๖๒

๒.     ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดทำผังเมือง

๓.     ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและความรู้ด้านผังเมือง

๔.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ และการพัฒนาเมือง

๕.     ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนและการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานชุมชนเมือง

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเมือง

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๑วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ๑.      ความรู้เกี่ยวกับการซ่อมแซม และบำรุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรกลต่าง ๆ

๒.     ความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics)

๓.     ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์โปรแกรม (Computer Programming)

๔.     ความรู้เกี่ยวกับอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)

๕.     ความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)

๖.      ความรู้เกี่ยวกับความแข็งแกร่งของวัสดุ (Strength Materials) หรือกลศาสตร์ของวัสดุ (Mechanics of Materials)

๗.     จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๒วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ๑.      ความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรม

๒.     ความรู้ด้านการออกแบบระบบไฟฟ้า

๓.     ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย

๔.     ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบแสงสว่าง และระบบปรับอากาศ

๕.     ความรู้ในการออกแบบระบบไฟฟ้าในอาคาร

๖.      ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้าและระบบสัญญาณในอาคาร

๗.     ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน

๘.     จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๓วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติควบคุมอาหารพศ. ๒๕๒ และที่แก้ไนพิ่มเติมถึง (ฉบับที่๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.     พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

๕.      ความรู้ในการสำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ และวางผังโครงการ โครงสร้างและระบบทางวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ระบบประปา ระบบการกำจัดสิ่งปฏิกูล ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบระบายน้ำ ระบบน้ำทิ้ง เป็นต้น

๖.      วิเคราะห์ และคำนวณโครงสร้าง และระบบต่าง ๆ ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตั้งงบประมาณ

๗.     จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๔นักจัดการงานช่างปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘

๒.     พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติการขุดและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓

๔.     พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐

๕.     พระราชบัญญัติการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๓ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐

๖.      พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๙

๗.     พระราชบัญญัติราชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๖๒

๘.     พระราชบัญญัติป้องกันและบรรมาสาธารณภัย พศ. ๒๕๕๐ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๙.      ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสพภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๐.   พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๑๑.   กฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะอาดในอาคารสำหรับผู้พิการ หรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๒. ความรู้เกี่ยวกับการวางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุม การสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้กำหนดมาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบหรือซ่อมบำรุง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล

๑๓.  ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบแสงสว่าง และระบบปรับอากาศ

๑๔.  ความรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะและเครื่องกลต่าง ๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติ

๑๕.  ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๕นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.     พระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗

๓.     พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ในพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

๔.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ.๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕

๕.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.      ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง

๗.     ความรู้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

๘.     ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาชุมชน เช่น หลักการพัฒนาชุมชนหลักการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ข้อมูลชุมชน วิธีการและกระบวนการพัฒนาชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้นำชุมชน การจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ การวางแผน โครงการและติดตามประเมินผลเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ เป็นต้น

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๖นักสังคมสงเคราะห์และปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวิชาชีพลังคมสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๖

๒.     พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐

๓.     พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๖๐

๔.     พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖

๕.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖

๖.      พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒

๗.     ความรู้เกี่ยวกับงานสังคมสงเคราะห์และพิทักษ์สิทธิผู้รับบริการ ได้แก่เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยคนพิการ สิทธิ์ของผู้ป่วย

๘.     ความรู้แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ชุมชน และการสังคมสงเคราะห์

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๗นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ 6

๒.     พระราชบัญญัติส่งเสริมการการเรียนรู้ พ.ศ. ๒๕๖๖

๓.     พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖

๕.     แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๗๕

๖.      ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ การศึกษาพิเศษการศึกษาตามอัธยาศัย

๗.     ความรู้ในการจัดทำแผนงาน/โครงการต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

๘.     ความรู้ในการวางแผนการศึกษา การจัดพิพิธภัณฑ์ทางการศึกษาและจัดทำมาตรฐานสถานศึกษา

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๘บรรณารักษ์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ๒๕๖๖

๓.     พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.     ความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์

๕.     ความรู้เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่และการจัดทำบัตรรายการ

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

๗.     ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารนิเทศและการประยุกต์ใช้

๘.     ความรู้เกี่ยวกับการบริการอ้างอิงและสารนิเทศ

๙.      การบริหารงานการบริการห้องสมุด การส่งเสริมการใช้ห้องสมุด และการส่งเสริมการอ่าน

๑๐.   ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดประชาชนและห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์

๑๑.   ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นสืบสารสนเทศ

๑๒. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๓๙นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓

๒.     ความรู้เกี่ยวกับงานรัฐพิธี และราชพิธี

๓.     การอนุรักษ์ ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม

๔.     ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

๕.     มิติและโครงสร้างทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงของกระแสวัฒนธรรมโลก

๖.      การพัฒนาเครือข่ายทางวัฒนธรรม

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๔๐นักสันทนาการปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒.     แผนปฏิบัติการด้านนันทนาการระยะที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๖ -๒๕๗๐)

๓.     ความรู้ในการวิเคราะห์ และจัดทำแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติการและแผนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานสันทนาการ

๔.     ความรู้ในการจัดทำโครงการ และกิจกรรมด้านสันหนาการต่าง ๆ

๕.     แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙

๖.      พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ๒๕๖๖

๗.     ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาเด็กปรมวัย พศ. ๒๕๕๑

๘.     ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง ส่วนท้อถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๖๑

๙.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๔๑นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ๑.      แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ

๒.     ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพลศึกษา การกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา

๓.     ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ การวางแผน การจัดทาโครงการและการจัดทำแผนพัฒนาการกีฬา นันหนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา

๔.     ความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและจริยธรรมในวิชาชีพด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา

๕.     ความรู้เกี่ยวกับนันทนาการ

–             ผู้นำนันหนาการ

–             นันหนาการชุมชน

–             การจัดการนันหนาการ

–             ฃนันทนาการในสถานที่ต่าง ๆ

–             การจัดกิจกรรมนันทนาการในรูปแบบต่าง ๆ

๖.      ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๔๒ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติโบราณสถานโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕

๒.     พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓

๓.     พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙

๔.     ความรู้ทางด้านโบราณคดี

๕.     ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ

๖.      ความรู้ทางด้านมานุษยวิทยา

๗.     ความรู้ทางด้านทิพิธภัณฑสถานวิทยา

๘.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๔๓นักจัดการงานเทศกิจปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๒.     พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

๓.     พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๖๒

๔.     พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

๕.     พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๐

๖.      พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๖๐

๗.     พระราชบัญญัติมาตราซั่งตวงวัด พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ใขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗

๘.     พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ (ในส่วนของการห้ามเข้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย)

๙.      ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบ การจัดระเบียบตลาด หาบเร่ แผงลอยจุดผ่อนผัน จุดทบหวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด

๑๐.   ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

๔๔นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ๑.      พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๒.     พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ขเพิ่มตินถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๖๒

๓.     พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ (เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย)

๔.     กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕

๕.     ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติกรณีฉุกเงิน พ.ศ. ๒๕๖๒

๖.      ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและปฏิบัติการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น การสำรวจตรวจตราเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุหกภัย วาตภัย และภัยอื่น ๆ การพื้นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย เป็นต้น

๗.     ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ

 

แผนขั้นตอนการสอบท้องถิ่น ปี 2568

วันที่17 กุมภาพันธ์ 2568 ประกาศรับสมัคร (ก่อนวันรับสมัคร 10 วันทําการ)
วันที่ 7- 28 มีนาคม 2568รับสมัครผ่านระบบออนไลน์ (15 วันทําการ)
เมษายน – พฤษภาคม 2568ดําเนินการคัดเลือกมหาวิทยาลัย
วันที่ 1 – 30 มิถุนายน 2568จัดหาสนามสอบ ห้องสอบ
วันที่ 2 กรกฎาคม 2568ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ วัน เวลา และสถานที่สอบภาค ก. และภาค ข. (ก่อนสอบ 10 วันทําการ)
วันที่ 19 กรกฎาคม 2568สอบภาค ก.และ ภาค ข.
สิงหาคม-กันยายน 2568 ตรวจสอบคุณสมบัติผู้สอบผ่านภาค ก./ภาค ข.
วันที่ 1 ตุลาคม 2568ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ วัน เวลา และสถานที่สอบภาค ค. (ก่อนสอบ 10 วันทําการ)
วันที่ 18-19 ตุลาคม 2568สอบภาค ค. (สัมภาษณ์)
วันที่ 31 ตุลาคม 2568ประกาศขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้
วันที่ 3 – 7 พฤศจิกายน 2568เรียกรายงานตัว และ เลือก อปท.ที่จะไปบรรจุแต่งตั้ง
วันที่ 1 ธันวาคม 2568บรรจุแต่งตั้งใน อปท.โดยความเห็นชอบของ ก.จังหวัด.

 

 

 


อัพเดตข่าว สอบท้องถิ่น กำหนดการสอบท้องถิ่น

แนวข้อสอบ ท้องถิ่น 2568 ฉบับเล่มเดียวจบ เน้นจุดออกสอบ

แนวข้อสอบ ท้องถิ่น ปี 68 ฉบับเล่มเดียวจบ รวมภาค ก ข และ ค ปรับปรุงล่าสุดครบถ้วนตามหลักสูตรที่สอบ ไฟล์ PDF ได้รับภายใน 1-30 นาที และ หนังสือ ส่งฟรี เก็บเงินปลายทาง [ครบจบในเล่มเดียว]

 

 

 

ร่างประกาศรับสมัครสอบ ปี 67

แผนและขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการสอบแข่งขัน ท้องถิ่น ปี 2567

** กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

อัพเดต 26 พฤษภาคม 2566

อัพเดตการประชุมครั้งที่ 1/2566 จำนวนตำแหน่งว่างสอบท้องถิ่น ปี 2566 65 ตำแหน่ง 4,010 อัตรา

อัพเดตการประชุมครั้งที่ 1/2566 จำนวนตำแหน่งว่างสอบท้องถิ่น ปี 2566 65 ตำแหน่ง 4,010 อัตรา

การประชุมคณะกรรมการกลางข้อราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ครั้งที่ 6/2566

การประชุมคณะกรรมการกลางข้อราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ครั้งที่ 6/2566

หลักเกณฑ์การสอบแข่งขันท้องถิ่นใหม่

หลักเกณฑ์การสอบแข่งขันท้องถิ่นใหม่

อัพเดต 22 พฤษภาคม 2566

การสอบแข่งขันเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการการส่วนท้องถิ่น ปี 2566 คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น (กสถ.) ได้มีประกาศ เรื่อง การขึ้นบัญชีฯ ลงวันที่ 8 มีนาคม 2565 ซึ่งมีอายุบัญชี 2 ปี โดยมีผู้ได้รับการขึ้นบัญชี จํานวน 71 ตําแหน่ง รวม 18,809 ราย
มียอดสะสมในการเรียกรายงานตัวไปแล้ว จํานวน 16,069 ราย คงเหลือในบัญชี จํานวน 2,740 ราย

การสอบแข่งขันเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการการส่วนท้องถิ่น ปี 2566 ประกาศ เรื่อง การขึ้นบัญชีฯ ผู้สอบผ่าน

สอบท้องถิ่นปี 66 ตำแหน่งที่คาดว่าจะเปิดรับสมัครสอบ

อัตราที่คาดว่าจะเปิดรับ ปี 66

1. ประเภทวิชาการ จำนวน 27 ตำแหน่ง 1,296 อัตรา
2. ประเภททั่วไป จำนวน 20 ตำแหน่ง 1,944 อัตรา
3. ประเภทครู และบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 18 ตำแหน่ง 770 อัตรา
รวมทังสิ้น 26 ตำแหน่ง 4,010 อัตรา

ตำแหน่งที่หมดปัญชีและตำแหน่งที่ว่างที่คาดว่าจะเปิดรับ ปี 66

 

สอบท้องถิ่นปี 66 ตำแหน่งที่คาดว่าจะเปิดรับ

 

 

อัพเดตข่าว สอบท้องถิ่น 64 กำหนดการสอบท้องถิ่น ปี 2564

อัพเดทล่าสุด วัน เวลา สถานที่สอบ ท้องถิ่น 2564

 

สอบท้องถิ่น 64 กำหนดการสอบ วันอาทิตย์ ที่ 12 ธันวาคม 2564

ภาค ก สอบช่วงเช้า 9.00 – 11.00 น.

ภาค ข สอบช่วงบ่าย 13.00 – 15.30 น.

 

เนื่องจาก สถานการณ์ Covid-19 คณะกรรมการกลางการสอบประกาศเลื่อนกำหนดวันสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2564 ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) และภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (ภาค ข) ออกไปจนกว่าจะคลี่คลาย

 

จำนวนผู้สมัคร สอบท้องถิ่น ปี 2564 จำนวน 498,700 ราย

ภูมิภาคทั่วไปปฏิบัติการครูผู้ช่วยรวม
ภาคกลาง เขต 1       9,996              22,946     6,778     39,720
ภาคกลาง เขต 2      12,920              35,731    10,347     58,998
ภาคกลาง เขต 3       8,539              19,494     5,142     33,175
ภาคเหนือ เขต 1      13,560              29,402     4,848     47,810
ภาคเหนือ เขต 2      18,117              28,778    13,062     59,957
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 1      12,566              33,734     9,756     56,056
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 2      11,431              19,662     5,629     36,722
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 3      11,862              26,927     5,121     43,910
ภาคใต้ เขต 1      17,644              25,766     8,335     51,745
ภาคใต้ เขต 2      24,577              40,179     5,851     70,607
รวมทั้งหมด  141,212            282,619  74,869  498,700

การสมัครสอบ ตั้งแต่วันที่ 9-31 มีนาคม 2564 ตลอด 24 ชม ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ประกาศ  กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กสถ. เรื่องรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2564 ดังนี้

  • ประกาศรับสมัครสอบแข่งขัน วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
  • รับสมัครสอบทางเว็บไซต์ วันที่ 9 – 31 มีนาคม 2564
  • ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ วันที่ 5 เมษายน 2564
  • ประกาศกำหนดวัน เวลา สถานที่สอบ วันที่ 20 เมษายน 2564
  • สอบท้องถิ่น 64 วันไหน จากการคาดการณ์ ที่สอบท้องถิ่น 62 จะสอบหลังจากประกาศสถานที่สอบ ประมาณ 1 เดือน ดังนั้นปี 64 น่าจะมีการสอบ ประมาณ วันที่ 23 พฤษภาคม 64 แต่ทั้งนี้ปี 64 มีสถาการณ์โควิด 19 อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามสถาณการณ์
  • ประกาศล่าสุด สอบท้องถิ่นภายในวันที่ 4 กรกฏาคม 64 รอประกาศวันเวลาและสถานที่สอบ ภายในในวันที่ 15 มิถุนายน 64
  • ประกาศ 15 มิถุนายน 64  สอบท้องถิ่นภายในวันที่ 8 สิงหาคม 64 รอประกาศวันเวลาและสถานที่สอบ ภายในในวันที่ 20 กรกฎาคม 64

 

เนื่องจาก สถานการณ์ Covid-19 คณะกรรมการกลางการสอบประกาศเลื่อนกำหนดวันสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2564 ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) และภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสำหรับตำแหน่ง (ภาค ข) ออกไปจนกว่าจะคลี่คลาย

 

ร่างประกาศ  กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กสถ. เรื่องรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2564 ดังนี้

 


สอบท้องถิ่น 64 มีตําแหน่งอะไรบ้าง

ตำแหน่งว่างที่จะเปิดรับสมัครสอบท้องถิ่น 64 จำนวน 69 ตำแหน่ง 4,426 อัตรา (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มกราคม 2564) ได้แก่

  1. ประเภทวิชาการ 22 ตําแหน่ง วุฒิ ป.ตรี ขึ้นไป
  2. ประเภททั่วไป 25 ตําแหน่ง วุฒิต่ำกว่า ป.ตรี
  3. ครูผู้ช่วย 22 สาขาวิชาเอก วุฒิ ปตรี ขึ้นไป+ใบประกอบวิชาชีพครู

 

 

อัพเดตข่าว สอบท้องถิ่น กำหนดการสอบท้องถิ่น

แนวข้อสอบ ท้องถิ่น 2564 ฉบับเล่มเดียวจบ เน้นจุดออกสอบ

แนวข้อสอบ ท้องถิ่น ปี 64 ฉบับเล่มเดียวจบ รวมภาค ก ข และ ค ปรับปรุงล่าสุดครบถ้วนตามหลักสูตรที่สอบ ไฟล์ PDF ได้รับภายใน 1-30 นาที และ หนังสือ ส่งฟรี เก็บเงินปลายทาง [ครบจบในเล่มเดียว]

เนื้อหาสอบท้องถิ่น 64 คลิก >> https://tutorsheetstore.com/สอบท้องถิ่น-64-มีตําแหน่งอะไรบ้าง/